งาน Bright Green Summit จัดโดย American Chamber of Commerce (Amcham) in Sweden ร่วมกับ Mundus International เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2022 ที่กรุงสตอคโฮล์ม ได้สรุป Highlight สำคัญจากเวที COP27 เร่งสานต่อ Climate action รวมผู้นำ นักการทูต นักธุรกิจ นักวิจัย นักพัฒนาความยั่งยืน นักลงทุน นักสื่อสาร มาวางแผนสร้างความร่วมมือเพื่อ:
แนวทางการพัฒนาต่อจาก COP27 บนเวที Bright Green Summit
ทิศทางการพัฒนาของประเทศสวีเดน
ประกาศ 7 ประเด็นสำคัญที่จะพัฒนา ได้แก่
งาน G20 Summit จัดขึ้น ณ บาหลี ทำให้เกิด Climate Transaction ที่ใหญ่สุดในประวัติศาสตร์ สามารถทำให้อินโดฯ เข้าสู่เป้าหมายพัฒนาสู่ความยั่งยืนเร็วขึ้นกว่า 7 ปี ย้ำให้ภาคเอกชนร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการปัญหา Climate Change
ปัจจุบันได้มีการออกกฏหมายที่เอื้อให้กับผู้ประกอบการต่างชาติมาลงทุนเรียบร้อย
ที่มาภาพ: SKANSKA
ตัวอย่าง 1: Skanska บริษัทก่อสร้างยักษ์ใหญ่ของสวีเดน
ตัวอย่าง 2: Hummeltorp บริษัทรีไซเคิลวัสดุก่อสร้าง
เน้นความโปรงใสร่วมมือกันในทั้งระบบ ใช้เวลาในการวิจัยกว่า 5 ปี
ค้นพบการเพิ่มการรีไซเคิลขยะจากการก่อสร้างได้จากเดิม 16% สู่ 96% ภายใน 6 ปี
ตัวอย่าง 1
ที่มาภาพ: Lufthansa Group
ตัวอย่าง 2
ที่มาภาพ Go-e : ที่ชาร์จไฟฟ้า EV แบบพกพา
ตัวอย่าง 3
ที่มาภาพ Talga Group : แบตเตอรี่แร่กราไฟท์
การสื่อสารเพื่อพัฒนาการขนส่งเคลื่อนย้าย (Mobility) ให้ดีขึ้น ต้องเน้นปรับที่แนวคิดพฤติกรรม (Behavioral Mindset) ตั้งแต่ในระดับบริษัทไปจนถึงผู้ใช้ และเน้นกดดันภาครัฐและคู่แข่งให้ปรับเปลี่ยนเช่นเดียวกัน
นักศึกษาปริญญาโทจาก Stockholm School of Economics เล่าถึงงานวิจัยเกี่ยวกับ EU Taxonomyที่เป็นตัวเชื่อมสำคัญระหว่างภาคการเงิน (Financial) กับความยั่งยืน (Sustainability) ช่วยให้นักลงทุน สนับสนุนใน Green Economy ได้ง่ายขึ้น
6 เป้าหมายของ EU Taxonomy
งานวิจัยนี้สัมภาษณ์บริษัท 16 แห่ง ผลคือ
การสื่อสาร Communication
Green Hushing หมายถึง เมื่อบริษัทมีเป้าหมายขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน แต่ไม่ประกาศออกมา เพียงเพราะ
ตัวอย่าง Coca Cola
ความท้าทายหลักของบริษัท โค้ก:
1.กระบวนการผลิตส่งผลต่อ Climate change
2.บรรจุภัณฑ์ (Packaging)
3.น้ำ - โค้กใช้น้ำในการผลิตมาก
เคยเกิดการประท้วงที่อินเดีย 2010 ที่ไม่มีน้ำดื่ม แต่เอามาทำเป็นโค้ก โดยสิ่งที่โค้กทำคือ หาทางอื่นๆ ร่วมมือแก้ปัญหาโลก ในการทดแทน ฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำต่างๆ จนสามารถคืนน้ำสะอาด = น้ำที่เอามาผลิตได้แล้ว (Coke Sweden)
“เราเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาแต่ก็เป็นส่วนหนึ่งของทางออกเช่นเดียวกัน” ย้ำเรื่องความโปร่งใส เป็นสิ่งสำคัญ
อนาคตของบรรจุภัณฑ์ (Packaging)
ตัวอย่าง บริษัท Absolut พัฒนาขวดกระดาษได้แล้ว และทำงานต่อยอดร่วมกับ P&G / Coke / L’oreal
วัสดุขวดแก้วจริงๆแล้วไม่ยั่งยืน ด้วยน้ำหนักที่หนัก ทำให้ลำบากในการขนส่งหรือการคืนขวด
ใน US มีเพียง 21% ที่คืนขวดแก้วกลับมารีไซเคิล นอกนั้นกลายเป็นขยะทิ้งไป
คำถามคือ มีแพคเกจเพียงพอต่อการรีไซเคิลในตลาดมากพอแล้วหรือยัง?
การใช้กระดาษเป็น Package สามารถช่วยลด Carbon Emission ได้มากกว่า 50% และง่ายต่อการขนส่ง
ขวดกระดาษ Absolut Vodka นี้ผลิตโดยชุมชนทางตอนใต้ของสวีเดน
ตอนนี้เหลือเพียงแต่ Cap ฝาปิดที่ทางบริษัทกำลังพัฒนาด้วยวัสดุไฟเบอร์ (Fibre)
คำถามต่อมาคือขวดจะดูดี Premium พอสำหรับผู้บริโภคหรือเปล่า?
บริษัทเชื่อว่าผู้บริโภคพร้อมแล้ว ไม่เน้นมองว่าเราเสียอะไรไปแต่มองว่าเราได้อะไรในระยะยาว
ให้ความยั่งยืนเป็นส่วนหนึ่งของแบรนด์ และให้ผู้บริโภครู้สึกดีไปกับมัน
ปิดท้ายด้วยคุณ Mattias Frumerie, Head of Delegation to UNFCCC, Ministry of Environment ตัวแทนจากสวีเดนที่ได้เข้าร่วมงาน COP27 ได้ออกมาแชร์ว่า
“ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เป็นไปตามผลที่ตั้งเป้าไว้ แต่ก็มีผลลัพธ์ออกมาเพื่อพัฒนาต่อยอด”
โดยสรุป Highlights จากงานดังนี้
1.มุ่งสร้างโครงการลดผลกระทบทางสภาพอากาศ (Mitigation program) เร่งสนับสนุนร่วมมือเครือข่ายระดับโลก
2.ส่งเสริมจับมือกับประเทศที่กำลังพัฒนา ลดปัญหา Climate Change ควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
3.สร้างความตระหนัก การสูญเสียและผลกระทบ (Loss & Damage) จาก Climate Change เพราะจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และน่าเป็นห่วง เชื่อว่าเกิดการสูญเสียแต่ละครั้งมากถึง 50% ของ GDP ประเทศ
4.อัดฉีดเร่งการเงินเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ (Climate finance) จะสร้างให้เกิดสภาพคล่องทางการเงินได้อย่างไร บางประเทศที่กำลังพัฒนาปฏิเสธความร่วมมือ เนื่องจากยังไม่พร้อม ต่อจากนี้ต้องเน้นการกระจายเงินให้ถูกที่ ผ่านเกณฑ์ Criteria เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนผ่านที่แท้จริงสู่ COP28
Key message:
ความเร่งด่วนมาพร้อมกับโอกาส ร่วมมือสร้างเครือข่ายแข็งแกร่ง
ประเทศกำลังพัฒนาต้องการความช่วยเหลืออย่างไร
นี่เป็นโอกาสของภาคธุรกิจที่จะร่วมมือ
ต้องมั่นใจว่าทุกฝ่ายจะมีจุดยืนในการขับเคลื่อน Climate Transition
แม้ยากก็ต้องทำ เปิดพื้นที่ให้ทุกฝ่ายกล่าวถึงข้อจำกัดที่เผชิญอยู่
และเรามาหาทางออก ขับเคลื่อนไปสู่ COP28 ไปด้วยกัน
Mattias Frumerie, Head of Delegation to UNFCCC, Ministry of Environment
Copyright © All Rights Reserved